ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันร้ายที่ต้องระวัง! – โรงพยาบาลศิครินทร์ – Sikarin
ผู้เขียนบทความ : www.sikarin.com
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 4 ⭐ (33314 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 3 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- That page can’t be found.
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
กินอย่างไร เมื่อไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง – Sriphat Medical Center |
ผู้เขียนบทความ : sriphat.med.cmu.ac.th
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 4 ⭐ (30959 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 5 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 1 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- ความรู้จากแพทย์ศรีพัฒน์
- กินอย่างไร เมื่อไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง
- ผศ.พญ.นิพาวรรณ ไวศยะนันท์ (อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อ)และนักกำหนดอาหารรหัสเอกสาร SD-HA-IMC-174-R-00อนุมัติวันที่ 8 มีนาคม 2560ทำความรู้จักไขมันไตรกลีเซอไรด์ ไตรกลีเซอไรด์เป็นไขมันชนิดหนึ่งในร่างกาย เกิดขึ้นได้ทั้งจากการรับประทานไขมันจากอาหาร เช่น หมูสามชั้น แคบหมู กะทิ เข้าไปโดยตรง และเกิดจากการที่ตับสังเคราะห์ขึ้นใช้เอง จากน้ำตาล ข้าว-แป้ง และแอลกอฮอล์ ไตรกลีเซอไรด์ละลายอยู่ในเลือดได้โดยรวมตัวกับโปรตีน และนำไปใช้เป็นพลังงานสำรองของร่างกาย บางส่วนถูกสะสมไว้ที่เนื้อเยื่อไขมัน บางส่วนถูกสะสมในตับ สาเหตุไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง· รับประทานอาหารไม่สมดุล โดยเฉพาะกลุ่มข้าว-แป้ง น้ำตาลและไขมันในปริมาณที่สูง แต่มีกิจกรรมทางกายน้อย (รับประทานมากแต่ใช้พลังงานน้อย)· ดื่มแอลกอฮอล์มาก· ขาดการออกกำลังกาย· โรคอ้วน โรคไทรอยด์ทำงานน้อย โรคตับ โรคไต· โรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี· ผู้ป่วยที่รับประทานยาบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ เอสโตรเจน ยาคุมกำเนิด เป็นต้น· พันธุกรรมไขมันไตรกลีเซอไรด์ระดับไหนจึงเรียกสูง*งดอาหารทุกชนิด ก่อนเจาะเลือดอย่างน้อย 12 ชั่วโมง*อันตรายจากไตรกลีเซอไรด์- ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน โดยเฉพาะเมื่อระดับไตรกลีเซอไรด์มากกว่า 500 มก./ดล.- เพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดแข็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคอ้วน ไขมันเกาะตับอันตรายจากไตรกลีเซอไรด์- ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน โดยเฉพาะเมื่อระดับไตรกลีเซอไรด์มากกว่า 500 มก./ดล.- เพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดแข็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคอ้วน ไขมันเกาะตับกินอย่างไร เมื่อไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง1. ลดพลังงานรวมต่อวันเลี่ยง อาหารที่ผ่านกระบวนการปรุงแต่งต่างๆ เช่น ไส้กรอก แฮม ขนมเค้ก เบเกอรี่ คุกกี้ มันฝรั่งทอดลด ปริมาณอาหารที่จะรับประทาน ควรรับประทานอาหารหลากหลาย แต่อย่างละเล็กอย่างละน้อยเลือก ชิมอาหารก่อนปรุงรสทุกครั้ง ควรเลี่ยงการปรุงอาหารด้วยน้ำตาลเลือก อ่านฉลากโภชนาการทุกครั้งก่อนซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อทราบปริมาณพลังงานและส่วน ประกอบที่จะรับประทานเลือก ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ (หากอ้วนควรลดน้ำหนัก) ควรมีรอบเอวไม่เกินครึ่งหนึ่งของความสูง 2. เพิ่มอาหารที่มีไฟเบอร์สูงทดแทนแป้งและน้ำตาลเลี่ยง/ลด ข้าวเหนียว ข้าวขัดสี แป้งและน้ำตาล ขนมหวานต่างๆ เช่น ขนมไทยรสหวานจัด บราวนี่ เค้ก คุกกี้ โดนัท ขนมปังเนยน้ำตาล นมข้นหวาน น้ำผึ้ง ทอฟฟี่ น้ำตาลมะพร้าวเลี่ยง เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ได้แก่ นมรสหวาน นมเปรี้ยว โยเกิร์ตพร้อมดื่ม น้ำอัดลม น้ำอ้อยสด เครื่องดื่มผง 3 in 1 เครื่องดื่มชูกำลังเลี่ยง ผลไม้แช่อิ่ม น้ำผลไม้ที่ผสมน้ำตาลสูง ผลไม้ที่จิ้มพริกน้ำตาลหรือน้ำปลาหวานปริมาณมากเลือก รับประทานอาหารที่มีเส้นใยสูง ผัก ธัญพืช ถั่ว ขนมปังโฮลวีล ข้าวกล้องหรือข้าวขัดสีน้อยชนิดอื่นๆเลือก รับประทานผลไม้สดหรือผลไม้ปั่นไม่แยกกาก แทนขนมหวานปริมาณ 3-4 จานเล็กต่อวัน(ขนาดจานรองกาแฟ)เลือก เครื่องดื่มน้ำตาลน้อย เช่น นมรสจืดไขมันต่ำ น้ำเปล่า กาแฟดำไม่เติมน้ำตาล น้ำสมุนไพรไม่เติมน้ำตาล เช่น น้ำใบเตย น้ำตะไคร้ น้ำขิง น้ำมะตูม 3. ลดอาหารมัน โดยเฉพาะไขมันจากสัตว์เลี่ยง เนื้อสัตว์ติดมันติดหนัง มาการีน (เนยเทียม) อาหารทอดต่างๆ เนื้อสัตว์แปรรูป (ไส้กรอก ไส้อั่ว แหนม แฮม โบโลน่า หมูยอ)เลือก รับประทานปลา เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว ที่ไม่ติดมันติดหนังเลือก โปรตีนจากถั่วเหลือง เช่น เต้าหู้ ฟองเต้าหู้ นมถั่วเหลือง ปรุงประกอบทดแทนโปรตีนจากสัตว์ และเวย์โปรตีนในบางมื้ออาหาร อาจช่วยลดระดับไตรกลีเซอร์ไรด์เลือก รับประทานแหล่งโอเมก้า 3 จากปลาทะเล (ปลาซาดีน ปลาแซลมอน ปลาโอ ปลาทู ปลาทูน่า) หรือปลาน้ำจืด (ปลาช่อน) ขนาดชิ้นประมาณเท่าฝ่ามือ อย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์ หรือจากเมล็ดพืช เช่น เมล็ดดาวอินคา งาม้อน เมล็ดเชีย เมล็ดฟักทอง ซึ่งมีส่วนช่วยในลดไขมันไตรกลีเซอไรด์เลือก ไขมันจากพืช เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันรำข้าว น้ำมันคาโนล่า น้ำมันเมล็ดแฟล็ก น้ำมันถั่วเหลือง (น้ำมันควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับวิธีการปรุงประกอบ)เลือก รับประทานถั่วเปลือกแข็ง เช่น ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ พิตาชิโอ แมคคาเดเมีย อัลมอนด์ วอลนัท ปริมาณไม่เกิน 1 กำมือต่อวัน (30 กรัม)เลือก รับประทานแหล่งใยอาหารที่ละลายน้ำได้และสารพฤกษเคมีในพืช ชื่อว่า แพลนท์สเตอรอล (plant sterols) พบในธัญพืชต่างๆ เมล็ดพืช พืชตระกูลถั่ว จมูกข้าว ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เล่ย์ รำข้าวและมะเขือม่วง อาจช่วยลดระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ 4.ออกกำลังกายอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที 4-5 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยออกกำลังกายตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล 5. งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่Call Center : 0-5393-6900-1Line iD : @sriphatหรือ เพิ่มเพื่อนใน LINE ด้วยคิวอาร์โค้ดFacebook : SriphatMedicalCenter
- บริการเพิ่มเติม
- นโยบายคุกกี้
- นโยบายความเป็นส่วนตัว
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
ไตรกลีเซอไรด์ (Trigleceride) – โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 11 อินเตอร์
ผู้เขียนบทความ : www.chularat11.com
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 5 ⭐ (20531 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 2 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- HTTP Error 404.0 – Not Found
- The resource you are looking for has been removed, had its name changed, or is temporarily unavailable.
- Most likely causes:
- Things you can try:
- Detailed Error Information:
- More Information:
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ by หมอจอย จิรา – YouTube
ผู้เขียนบทความ : m.youtube.com
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 4 ⭐ (37793 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 3 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
Posted: 15 Mar 2016
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- https://m.youtube.com/watch%3Fv%3DWN_2vUI0960
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
Triglyceride / ไตรกลีเซอไรด์ – Food Wiki
ผู้เขียนบทความ : www.foodnetworksolution.com
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 5 ⭐ (25655 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 2 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
คุมอาหารแบบไหน ลดไขมันในเลือด
ผู้เขียนบทความ : www.siphhospital.com
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 4 ⭐ (34171 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 3 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- บทความที่เกี่ยวข้อง
- คุมอาหารแบบไหน ลดไขมันในเลือด
- 1. ไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride, TG)
- 2. ไขมันชนิดแอลดีแอลคอเลสเตอรอล (LDL-C)
- 3. ไขมันชนิดเอชดีแอล (HDL-C) หรือที่รู้จักกันในชื่อไขมันดี
- 4. คอเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol)
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมไขมันในเลือดผิดปกติ (Lifestyle Modification)
- 1. ไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride, TG)
- 2. ไขมันชนิดแอลดีแอลคอเลสเตอรอล (LDL-C)
- 3. ไขมันชนิดเอชดีแอล (HDL-C) หรือที่รู้จักกันในชื่อไขมันดี
- 4. คอเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol)
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมไขมันในเลือดผิดปกติ (Lifestyle Modification)
- บทความที่เกี่ยวข้อง
- ค้นหาแพทย์
- สาระสุขภาพ
- ศูนย์รักษาโรคเฉพาะทาง
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :
ไตรกลีเซอไรด์ – วิกิพีเดีย
ผู้เขียนบทความ : th.m.wikipedia.org
รีวิวจากผู้ใช้งาน : 5 ⭐ (38489 คะแนน)
ระดับสูงสุด : 4 ⭐
คะแนนต่ำสุด : 1 ⭐
สรุปเนื้อหาบทความ :
รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ : ไขมันtriglyceride
- ใช้ชื่อเรื่องนี้ไม่ได้
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง :